(นายพิทักษ์ โสระมรรค)
รองปลัด อบต.รักษาราชการแทน
ปลัด อบต. ปฏิบัติหน้าที่
นายก อบต.พระเสาร์
อบต.พระเสาร์ Phrasao (SAO) |
|
กลุ่มอาชีพ
- ปุ๋ยอินทรีย์ เพื่อใช้ในครัวเรือน และจำหน่าย
- เลี้ยงสัตว์ผสมผสาน เกษตรพอเพียง
- จำหน่าย คนในชุมชน เกษตรกรพื้นที่ใกล้เคียง พ่อค้ามารับซื้อ
- อบต.พระเสาร์ อบรมให้ความรู้
- เกษตรอำเภอ อบรมให้ความรู้
- ปศุสัตว์อำเภอ สนับสนุนโค สนับสนุนพันธ์หญ้า
- รพ.สต.บ้านพระเสาร์ ให้ความในการดูแลสุขภาพ
- เป็นการสร้างอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เป็นการรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นสินค้าOTOP ระดับ 5 ดาว
- อบต.พระเสาร์ สนับสนุนงบประมาณ
- พช.มหาชนะชัย อบรมให้ความรู้ ส่งเสริมการตลาด
- ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาค 7อุบลราชธานี อบรมให้ความรู้การสร้างลวดลายใหม่ๆในการทอผ้า พร้อมทั้งเทคนิคการทอ
- สร้างอาชีพ คนในชุมชน
- ปุ๋ยอินทรีย์ เพื่อใช้ในครัวเรือน
- เลี้ยงสัตว์ผสมผสาน เกษตรพอเพียง
- หนุนโคแม่พันธ์ให้สมาชิกเลี้ยง สมาชิกมีส่วนร่วมในการบริหารจัดกลุ่ม
- จำหน่าย คนในชุมชน เกษตรกรพื้นที่ใกล้เคียง พ่อค้ามารับซื้อ
- อบต.พระเสาร์ อบรมให้ความรู้
- เกษตรอำเภอ อบรมให้ความรู้ การจัดทำปุ๋ยชีวภาพ
- ปศุสัตว์อำเภอ ตรวจรักษาโรค สนับสนุนพันธ์หญ้า
- เฝ้าระวังปัญหายาเสพติด
- ช่วยเหลือกิจกรรมเกี่ยวกับยาเสพติด
- ให้คนในชุมชนได้รวมตัวกันทำกิจกรรมเกี่ยวกับการต่อต้านยาเสพติด
- ให้ทุนการศึกษาเด็กนักเรียนปีละ 1,000 บาท (คัดเลือกจากเรียนดีแต่อยากจน)
สาเหตุการก่อตั้ง
- ตลาดอยู่ห่างไกลหมู่บ้าน สิ้นค้ามีราคาแพง
- หน่วยงานที่สนับสนุน
- จากโครงการ SML 90,500 บาท
- สมาชิกถือหุ้นๆละ 50 บาท
เป้าหมาย
- จำหน่ายสินค้าให้คนในชุมชนและผู้สัญจรในราคาที่ถูก สร้างการมีส่วนร่วมในชุมชน แบ่งปันผลกำไร
ผลลัพธ์
- ชุมชนมีที่ซื้อสินค้าที่ใกล้บ้านในราคาทุก เกิดความสามัคคีในชุมชน เกิดการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน สร้างความเข้มแข็งในชุมชุน มีรายได้จากการปันผลกำไร
- ก่อตั้ง ปี 2535 จำนวนสมาชิก 52 ครัวเรือน
การดำเนินงาน
โดยเก็บเงินครัวเรือนละ 200 บาท มอบให้กับญาติผู้เสียชีวิต
ผลลัพธ์
- เกิดสวัสดิการในชุมชน
- เกิดการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
- สร้างความสามัคคี
- ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้
เป้าหมาย
- ระดมเงินช่วยเหลือค่าทำศพ
- ลดภาระด้านค่าใช้จ่ายค่าทำศพ
- เป็นการช่วยเหลือญาติผู้เสียชีวิต
ด้านกลุ่มอาชีพ
ด้านกลุ่มอาชีพ
ลำดับที่ |
ชื่อกลุ่ม |
รายละเอียดผลิตภัณฑ์ |
หมู่บ้าน |
หมายเหตุ |
1 |
กลุ่มสตรีทอผ้าบ้านพระเสาร์ |
1) ผ้าไหมทอมือ 2) ผ้าพันคอ 3) ผ้าขาวม้า |
บ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 1 |
|
2 |
กลุ่มสตรีทอผ้าบ้านปลาปึ่ง |
1) ผ้าไหมทอมือ 2) ผ้าขาวม้า |
บ้านปลาปึ่ง หมูที่ 2 |
|
3 |
กลุ่มสตรีทอผ้าบ้านโนนยาง |
1) ผ้าไหมทอมือ 2) ผ้าห่มไหมพรม 3) ผ้าขาวม้า 4)ทอผ้าฝ้ายลายลูกหวาย |
บ้านโนนยาง หมู่ที่ 3,10 |
|
4 |
กลุ่มสตรีทอผ้าบ้านขาทราย |
1) ผ้าไหมทอมือ 2) ผ้าขาวม้า 3) ผ้าพันคอ |
บ้านขาทราย หมู่ที่ 4 |
|
5 |
กลุ่มสตรีทอผ้าบ้านโนนงิ้ว |
1) ผ้าไหมทอมือ 2) ผ้าขาวม้า |
บ้านโนนงิ้ว หมู่ที่ 5 |
|
6 |
กลุ่มสตรีทอผ้าบ้านหัวดง |
1) ผ้าไหมทอมือ 2) ผ้าขาวม้า |
บ้านหัวดง หมู่ที่ 6,9 |
|
7 |
กลุ่มสตรีทอผ้าบ้านแดง |
1) ผ้าไหมทอมือ 2) ผ้าขาวม้า 3) ผ้าพันคอ |
บ้านแดง หมู่ที่ 7 |
|
8 |
กลุ่มสตรีทอผ้าบ้านพระเสาร์ |
1) ผ้าไหมทอมือ 2) ผ้าขาวม้า 3) ทอตีนจก(ตีนซิ่น) |
บ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 8 |
กลุ่มทอผ้าขาวม้า หมู่ที่ 1
กลุ่มทอผ้าขาวม้า หมู่ที่ 1
รอปรับปรุงด้านกลุ่มอาชีพ
ด้านกลุ่มอาชีพ
ลำดับที่ |
ชื่อกลุ่ม |
รายละเอียดผลิตภัณฑ์ |
หมู่บ้าน |
หมายเหตุ |
1 |
กลุ่มสตรีทอผ้าบ้านพระเสาร์ |
1) ผ้าไหมทอมือ 2) ผ้าพันคอ 3) ผ้าขาวม้า |
บ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 1 |
|
2 |
กลุ่มสตรีทอผ้าบ้านปลาปึ่ง |
1) ผ้าไหมทอมือ 2) ผ้าขาวม้า |
บ้านปลาปึ่ง หมูที่ 2 |
|
3 |
กลุ่มสตรีทอผ้าบ้านโนนยาง |
1) ผ้าไหมทอมือ 2) ผ้าห่มไหมพรม 3) ผ้าขาวม้า 4)ทอผ้าฝ้ายลายลูกหวาย |
บ้านโนนยาง หมู่ที่ 3,10 |
|
4 |
กลุ่มสตรีทอผ้าบ้านขาทราย |
1) ผ้าไหมทอมือ 2) ผ้าขาวม้า 3) ผ้าพันคอ |
บ้านขาทราย หมู่ที่ 4 |
|
5 |
กลุ่มสตรีทอผ้าบ้านโนนงิ้ว |
1) ผ้าไหมทอมือ 2) ผ้าขาวม้า |
บ้านโนนงิ้ว หมู่ที่ 5 |
|
6 |
กลุ่มสตรีทอผ้าบ้านหัวดง |
1) ผ้าไหมทอมือ 2) ผ้าขาวม้า |
บ้านหัวดง หมู่ที่ 6,9 |
|
7 |
กลุ่มสตรีทอผ้าบ้านแดง |
1) ผ้าไหมทอมือ 2) ผ้าขาวม้า 3) ผ้าพันคอ |
บ้านแดง หมู่ที่ 7 |
|
8 |
กลุ่มสตรีทอผ้าบ้านพระเสาร์ |
1) ผ้าไหมทอมือ 2) ผ้าขาวม้า 3) ทอตีนจก(ตีนซิ่น) |
บ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 8 |
กลุ่มอาชีพ
- ปุ๋ยอินทรีย์ เพื่อใช้ในครัวเรือน และจำหน่าย
- เลี้ยงสัตว์ผสมผสาน เกษตรพอเพียง
- จำหน่าย คนในชุมชน เกษตรกรพื้นที่ใกล้เคียง พ่อค้ามารับซื้อ
- อบต.พระเสาร์ อบรมให้ความรู้
- เกษตรอำเภอ อบรมให้ความรู้
- ปศุสัตว์อำเภอ สนับสนุนโค สนับสนุนพันธ์หญ้า
- รพ.สต.บ้านพระเสาร์ ให้ความในการดูแลสุขภาพ
- เป็นการสร้างอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เป็นการรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นสินค้าOTOP ระดับ 5 ดาว
- อบต.พระเสาร์ สนับสนุนงบประมาณ
- พช.มหาชนะชัย อบรมให้ความรู้ ส่งเสริมการตลาด
- ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาค 7อุบลราชธานี อบรมให้ความรู้การสร้างลวดลายใหม่ๆในการทอผ้า พร้อมทั้งเทคนิคการทอ
- สร้างอาชีพ คนในชุมชน
- ปุ๋ยอินทรีย์ เพื่อใช้ในครัวเรือน
- เลี้ยงสัตว์ผสมผสาน เกษตรพอเพียง
- หนุนโคแม่พันธ์ให้สมาชิกเลี้ยง สมาชิกมีส่วนร่วมในการบริหารจัดกลุ่ม
- จำหน่าย คนในชุมชน เกษตรกรพื้นที่ใกล้เคียง พ่อค้ามารับซื้อ
- อบต.พระเสาร์ อบรมให้ความรู้
- เกษตรอำเภอ อบรมให้ความรู้ การจัดทำปุ๋ยชีวภาพ
- ปศุสัตว์อำเภอ ตรวจรักษาโรค สนับสนุนพันธ์หญ้า
- เฝ้าระวังปัญหายาเสพติด
- ช่วยเหลือกิจกรรมเกี่ยวกับยาเสพติด
- ให้คนในชุมชนได้รวมตัวกันทำกิจกรรมเกี่ยวกับการต่อต้านยาเสพติด
- ให้ทุนการศึกษาเด็กนักเรียนปีละ 1,000 บาท (คัดเลือกจากเรียนดีแต่อยากจน)
สาเหตุการก่อตั้ง
- ตลาดอยู่ห่างไกลหมู่บ้าน สิ้นค้ามีราคาแพง
- หน่วยงานที่สนับสนุน
- จากโครงการ SML 90,500 บาท
- สมาชิกถือหุ้นๆละ 50 บาท
เป้าหมาย
- จำหน่ายสินค้าให้คนในชุมชนและผู้สัญจรในราคาที่ถูก สร้างการมีส่วนร่วมในชุมชน แบ่งปันผลกำไร
ผลลัพธ์
- ชุมชนมีที่ซื้อสินค้าที่ใกล้บ้านในราคาทุก เกิดความสามัคคีในชุมชน เกิดการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน สร้างความเข้มแข็งในชุมชุน มีรายได้จากการปันผลกำไร
- ก่อตั้ง ปี 2535 จำนวนสมาชิก 52 ครัวเรือน
การดำเนินงาน
โดยเก็บเงินครัวเรือนละ 200 บาท มอบให้กับญาติผู้เสียชีวิต
ผลลัพธ์
- เกิดสวัสดิการในชุมชน
- เกิดการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
- สร้างความสามัคคี
- ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้
เป้าหมาย
- ระดมเงินช่วยเหลือค่าทำศพ
- ลดภาระด้านค่าใช้จ่ายค่าทำศพ
- เป็นการช่วยเหลือญาติผู้เสียชีวิต
(นายพิทักษ์ โสระมรรค)
รองปลัด อบต.รักษาราชการแทน
ปลัด อบต. ปฏิบัติหน้าที่
นายก อบต.พระเสาร์