messager
 
องค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ info_outline ข้อมูลการติดต่อ

อบต.พระเสาร์
 อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร

Phrasao (SAO) 

 

 

 

ยินดีต้อนรับ เข้าสู่เว็บไซต์ องค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
place สถานที่ท่องเที่ยว
วัดพระธาตุบุญตาวัดพระธาตุบุญตา ที่อยู่ หมู่ที่ 1 บ้านพระเสาร์ ต.พระเสาร์ อ.มหาชนะชัย จ.ยโสธร วัดพระธาตุบุญตาตั้งอยู่ที่บ้านพระเสาร์หมู่ที่ 1 ตำบลพระเสาร์ อำเภอมหาชนะชัย มีเนื้อที่ 4 ไร่เดิมเป็นวัดร้าง อายุประมาณ 1,000 ปี มีอิฐิและศิลาแรงเก่า มีสิมกลางหนองน้ำ ซึ่งเป็นเสาร์ไม้ตะเคียนฝังอยู่ในใต้หนองน้ำ ไม่มีการบูระณะปฏิสังขรณ์ขึ้นก่อตั้งเป็นองค์พระธาตุเจดีย์มาตุภูมิ เพื่อลำลึกถึงพระคุณมารดาบ้านเกิดของหลวงปู่เอง วัดพระธาตุบุญตาก่อสร้างเมื่อวันที่ 17 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2538 - สร้างเสร็จ พ.ศ. 2540 ฐานล่าง กว้าง 8 เมตร ยาว 8 เมตร ส่วนกลาง กว้าง 6 เมตร ยาว 6 เมตร สูง 33 เมตร พร้อมฉัตรทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส ในพระธาตุบรรจุพระธาตุของพระอรหันต์ทั่วสารทิศ สมัยที่หลวงปู่ธุดงค์ต่างเสด็จมาเอาทองคำหนักประมาณ 30 บาท รวมบรรจุไว้บนยอดพระธาตุเจดีย์ งบประมาณก่อสร้าง 14 ล้านบาท ปัจจุบัน พระครูบุญเจติยาทร เป็นเจ้าอาวาสวัดพระธาตุบุญตา
วัดบ้านพระเสาร์รอปรับปรุง
วัดป่าหนองบัวแดง รอปรับปรุง
วัดป่าหนองบัวแดง (สาขาที่ 140 ของวัดหนองป่าพง) วัดป่าหนองบัวแดง ตั้งอยู่เลขที่ 125 หมู่ 8 บ้านพระเสาร์ อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร 35130 เป็นวัดสาขา วัดหนองป่าพง ซึ่งมีศาลาโบสถ์สองชั้น เป็นวัดที่ใช้จัดฝึกอบรรมปฏิบัตธรรม และจัดกิจกรรมต่างๆในเขตตำบลพระเสาร์ เพราะมีสถานที่กว้างขวาง ร่มรื่นเต็มไปด้วยต้นไม้ บรรยากาศน่าปฏิบัติและฝึกสมาธิเป็นอย่างยิ่ง
ศูนย์อนุรักษ์สัตว์ป่าบ้านปลาปึ่งรอปรับปรุง
สถานที่ท่องเที่ยว
วัดพระธาตุบุญตา

วัดพระธาตุบุญตา ที่อยู่ หมู่ที่ 1 บ้านพระเสาร์ ต.พระเสาร์ อ.มหาชนะชัย จ.ยโสธร วัดพระธาตุบุญตาตั้งอยู่ที่บ้านพระเสาร์หมู่ที่ 1 ตำบลพระเสาร์ อำเภอมหาชนะชัย มีเนื้อที่ 4 ไร่เดิมเป็นวัดร้าง อายุประมาณ 1,000 ปี มีอิฐิและศิลาแรงเก่า มีสิมกลางหนองน้ำ ซึ่งเป็นเสาร์ไม้ตะเคียนฝังอยู่ในใต้หนองน้ำ ไม่มีการบูระณะปฏิสังขรณ์ขึ้นก่อตั้งเป็นองค์พระธาตุเจดีย์มาตุภูมิ เพื่อลำลึกถึงพระคุณมารดาบ้านเกิดของหลวงปู่เอง วัดพระธาตุบุญตาก่อสร้างเมื่อวันที่ 17 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2538 - สร้างเสร็จ พ.ศ. 2540 ฐานล่าง กว้าง 8 เมตร ยาว 8 เมตร ส่วนกลาง กว้าง 6 เมตร ยาว 6 เมตร สูง 33 เมตร พร้อมฉัตรทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส ในพระธาตุบรรจุพระธาตุของพระอรหันต์ทั่วสารทิศ สมัยที่หลวงปู่ธุดงค์ต่างเสด็จมาเอาทองคำหนักประมาณ 30 บาท รวมบรรจุไว้บนยอดพระธาตุเจดีย์ งบประมาณก่อสร้าง 14 ล้านบาท ปัจจุบัน พระครูบุญเจติยาทร เป็นเจ้าอาวาสวัดพระธาตุบุญตา
วัดบ้านพระเสาร์

รอปรับปรุง
วัดป่าหนองบัวแดง

รอปรับปรุง
วัดป่าหนองบัวแดง (สาขาที่ 140 ของวัดหนองป่าพง)

วัดป่าหนองบัวแดง ตั้งอยู่เลขที่ 125 หมู่ 8 บ้านพระเสาร์ อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร 35130 เป็นวัดสาขา วัดหนองป่าพง ซึ่งมีศาลาโบสถ์สองชั้น เป็นวัดที่ใช้จัดฝึกอบรรมปฏิบัตธรรม และจัดกิจกรรมต่างๆในเขตตำบลพระเสาร์ เพราะมีสถานที่กว้างขวาง ร่มรื่นเต็มไปด้วยต้นไม้ บรรยากาศน่าปฏิบัติและฝึกสมาธิเป็นอย่างยิ่ง
ศูนย์อนุรักษ์สัตว์ป่าบ้านปลาปึ่ง

รอปรับปรุง
info_outline วิสัยทัศน์การพัฒนา
วิสัยทัศน์หน่วยงานวิสัยทัศน์ (Vision) “สาธารณูปโภคก้าวไกล ใส่ใจการคมนาคม อุดมด้วยแหล่งน้ำ งามล้ำประเพณี สู่วิถีความพอเพียง” พันธกิจ (Mission) ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 67,68 และตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542ดังต่อไปนี้ 1.ปรับปรุงพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อใช้อุปโภค – บริโภค และทางการเกษตร 2.ให้การพัฒนา ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ถนน ไฟฟ้า ประปา 3.สนับสนุนการปรับปรุงภูมิทัศน์ และจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้น่าอยู่ยิ่งขึ้น 4.การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่างๆ ในพื้นที่ 5.ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาอาชีพ ให้การอบรมอาชีพกลุ่มอาชีพอิสระต่างๆ ในชุมชน 6.ส่งเสริมให้ประชาชนได้รับความรู้ ความเข้าใจ และนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ดำเนินชีวิต 7.ส่งเสริมและสนับสนุนด้านสาธารณสุข เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดต่อต่างๆ 8.ส่งเสริมการอนุรักษ์ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านต่างๆ 9.สนับสนุนส่งเสริมด้านการกีฬา และนันทนาการ เพื่อให้เยาวชนห่างไกลจากยาเสพติด นโยบายการพัฒนาของผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ผู้บริหารส่วนตำบลมีนโยบายให้ประชาชนได้มีความเป็นอยู่ที่ดี มีรายได้เพียงพอมีความสงบสุข มีการสืบทอดวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น รักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ให้คงอยู่อย่างยั่งยืน โดยมี แนวทางการดำเนินการ ดังนี้ 1.ยึดประโยชน์สุขของประชาชน เป็นผลลัพธ์สุดท้ายที่เกิดขึ้น จากการบริหารงานที่กำหนดไว้ใน พ.ร.บ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ถึง แก้ไข ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546 และ พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 2.ยึดนโยบายของรัฐบาลเพื่อนำนโยบายสำคัญไปสู่การปฏิบัติให้เกิดบังเกิดผลสำเร็จได้แก่การแก้ไขปัญหาความยากจนปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบปัญหายาเสพติด รวมตลอดถึงแก้ไขปัญหา ความเดือดร้อนและตอบสนองความต้องการของประชาชน 3.ยึดนโยบายของจังหวัดแบบบูรณาการมาปรับใช้เป็นแนวปฏิบัติในพื้นที่ของอบต.พระเสาร์เพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อประชาชนรวมกันในการสร้างความผาสุกแก่ประชาชนตามเจตนารมณ์ที่ตั้งไว้ 4.ยึดหลักกฎหมาย ระเบียบ ข้อบัญญัติขององค์กร นโยบายรัฐบาล มติคณะรัฐมนตรี และมติของสภา อบต. และหนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทย จุดมุ่งหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ จากกรอบความคิด นโยบาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ต่างๆ ที่กฎหมายกำหนด มีแนวคิดร่วมของประชาคมตำบลผสมผสานกับแนวนโยบายขององค์กรปกครองท้องถิ่นที่กำหนดไว้ ได้นำมาสู่จุดมุ่งหมายการพัฒนา (goals) ขององค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ดังนี้ 1.เพื่อพัฒนาการคมนาคม การสาธารณูปโภค ไฟฟ้าสาธารณะ และคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตร 2.เพื่อพัฒนากลุ่มอาชีพ ให้ประชาชนมีอาชีพ มีรายได้ และมีศักยภาพโอกาสทางเศรษฐกิจ ตามวิถีความพอเพียง 3.เพื่อพัฒนาและรักษาฟื้นฟูซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 4.เพื่อพัฒนาการศึกษาให้แก่เด็ก เยาวชน ประชาชนให้ได้มาตรฐาน มีคุณภาพ 5.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการเมืองการบริหารในระบอบประชาธิปไตย 6.เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน การช่วยเหลือผู้ประสบภัยต่างๆ ที่รวดเร็ว มีมาตรฐานอย่างทั่วถึง 7.เพื่อให้ชุมชนมีการรักษาไว้ซึ่งเอกลักษณ์ ภูมิปัญญา ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น 8.เพื่อให้ประชาชนได้ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย รู้ทันโลก ทันเหตุการณ์ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเข้าสู่สังคมอาเซียน(Asian Social) ต่อไป 9.เพื่อพัฒนาการกีฬาและนันทนาการให้มีมาตรฐานในระดับสากล 10.เพื่อการป้องกันและระงับโรคติดต่อทุกประเภท ให้มีประสิทธิภาพ ครอบคลุมพื้นที่ในเขตตำบล 11.เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ และผู้ด้อยโอกาสในสังคมชุมชน 12.เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมแก่ประชาชน และห่างไกลจากยาเสพติด 13.เพื่อให้ประชาชนมีน้ำอุปโภคอย่างเพียงพอ และมีมาตรฐาน 14.เพื่อให้มีการบรรเทาสาธารณภัยอย่างครบครัน 15.เพื่อให้ประชาชน หน่วยงานต่างๆ กลุ่มองค์กร ในเขตพื้นที่ มีส่วนร่วมในการพัฒนาตำบลให้มีความ เข้มแข็งและเจริญก้าวหน้าต่อไป
วิสัยทัศน์หน่วยงาน

วิสัยทัศน์  (Vision)
      “สาธารณูปโภคก้าวไกล  ใส่ใจการคมนาคม  อุดมด้วยแหล่งน้ำ  งามล้ำประเพณี  สู่วิถีความพอเพียง”
 
พันธกิจ  (Mission)
ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.  2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
มาตรา  67,68  และตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542ดังต่อไปนี้
1.ปรับปรุงพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อใช้อุปโภค – บริโภค และทางการเกษตร
2.ให้การพัฒนา ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน  เช่น  ถนน  ไฟฟ้า  ประปา
3.สนับสนุนการปรับปรุงภูมิทัศน์  และจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้น่าอยู่ยิ่งขึ้น
4.การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่างๆ  ในพื้นที่
5.ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาอาชีพ  ให้การอบรมอาชีพกลุ่มอาชีพอิสระต่างๆ  ในชุมชน
6.ส่งเสริมให้ประชาชนได้รับความรู้  ความเข้าใจ  และนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ดำเนินชีวิต
7.ส่งเสริมและสนับสนุนด้านสาธารณสุข  เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดต่อต่างๆ
8.ส่งเสริมการอนุรักษ์ศาสนา  วัฒนธรรม  ประเพณี  และภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านต่างๆ
9.สนับสนุนส่งเสริมด้านการกีฬา และนันทนาการ เพื่อให้เยาวชนห่างไกลจากยาเสพติด

นโยบายการพัฒนาของผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
ผู้บริหารส่วนตำบลมีนโยบายให้ประชาชนได้มีความเป็นอยู่ที่ดี มีรายได้เพียงพอมีความสงบสุข   
มีการสืบทอดวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น รักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม  ให้คงอยู่อย่างยั่งยืน  โดยมี แนวทางการดำเนินการ ดังนี้
1.ยึดประโยชน์สุขของประชาชน เป็นผลลัพธ์สุดท้ายที่เกิดขึ้น จากการบริหารงานที่กำหนดไว้ใน พ.ร.บ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ถึง แก้ไข ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546 และ พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  พ.ศ. 2542
2.ยึดนโยบายของรัฐบาลเพื่อนำนโยบายสำคัญไปสู่การปฏิบัติให้เกิดบังเกิดผลสำเร็จได้แก่การแก้ไขปัญหาความยากจนปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบปัญหายาเสพติด รวมตลอดถึงแก้ไขปัญหา    ความเดือดร้อนและตอบสนองความต้องการของประชาชน
3.ยึดนโยบายของจังหวัดแบบบูรณาการมาปรับใช้เป็นแนวปฏิบัติในพื้นที่ของอบต.พระเสาร์เพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อประชาชนรวมกันในการสร้างความผาสุกแก่ประชาชนตามเจตนารมณ์ที่ตั้งไว้
4.ยึดหลักกฎหมาย ระเบียบ ข้อบัญญัติขององค์กร นโยบายรัฐบาล มติคณะรัฐมนตรี และมติของสภา อบต. และหนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทย

จุดมุ่งหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
จากกรอบความคิด นโยบาย  วิสัยทัศน์  และพันธกิจ ต่างๆ  ที่กฎหมายกำหนด มีแนวคิดร่วมของประชาคมตำบลผสมผสานกับแนวนโยบายขององค์กรปกครองท้องถิ่นที่กำหนดไว้ ได้นำมาสู่จุดมุ่งหมายการพัฒนา (goals)  ขององค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ดังนี้

1.เพื่อพัฒนาการคมนาคม การสาธารณูปโภค ไฟฟ้าสาธารณะ และคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตร
2.เพื่อพัฒนากลุ่มอาชีพ ให้ประชาชนมีอาชีพ มีรายได้ และมีศักยภาพโอกาสทางเศรษฐกิจ ตามวิถีความพอเพียง
3.เพื่อพัฒนาและรักษาฟื้นฟูซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
4.เพื่อพัฒนาการศึกษาให้แก่เด็ก เยาวชน ประชาชนให้ได้มาตรฐาน มีคุณภาพ
5.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการเมืองการบริหารในระบอบประชาธิปไตย
6.เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน การช่วยเหลือผู้ประสบภัยต่างๆ ที่รวดเร็ว  มีมาตรฐานอย่างทั่วถึง
7.เพื่อให้ชุมชนมีการรักษาไว้ซึ่งเอกลักษณ์ ภูมิปัญญา ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น
8.เพื่อให้ประชาชนได้ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย  รู้ทันโลก ทันเหตุการณ์ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเข้าสู่สังคมอาเซียน(Asian Social) ต่อไป
9.เพื่อพัฒนาการกีฬาและนันทนาการให้มีมาตรฐานในระดับสากล
10.เพื่อการป้องกันและระงับโรคติดต่อทุกประเภท ให้มีประสิทธิภาพ  ครอบคลุมพื้นที่ในเขตตำบล
11.เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ และผู้ด้อยโอกาสในสังคมชุมชน
12.เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมแก่ประชาชน และห่างไกลจากยาเสพติด
13.เพื่อให้ประชาชนมีน้ำอุปโภคอย่างเพียงพอ และมีมาตรฐาน
14.เพื่อให้มีการบรรเทาสาธารณภัยอย่างครบครัน
15.เพื่อให้ประชาชน หน่วยงานต่างๆ กลุ่มองค์กร ในเขตพื้นที่ มีส่วนร่วมในการพัฒนาตำบลให้มีความ เข้มแข็งและเจริญก้าวหน้าต่อไป

วิสัยทัศน์การพัฒนา
วิสัยทัศน์หน่วยงาน

วิสัยทัศน์ (Vision) “สาธารณูปโภคก้าวไกล ใส่ใจการคมนาคม อุดมด้วยแหล่งน้ำ งามล้ำประเพณี สู่วิถีความพอเพียง” พันธกิจ (Mission) ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 67,68 และตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542ดังต่อไปนี้ 1.ปรับปรุงพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อใช้อุปโภค – บริโภค และทางการเกษตร 2.ให้การพัฒนา ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ถนน ไฟฟ้า ประปา 3.สนับสนุนการปรับปรุงภูมิทัศน์ และจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้น่าอยู่ยิ่งขึ้น 4.การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่างๆ ในพื้นที่ 5.ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาอาชีพ ให้การอบรมอาชีพกลุ่มอาชีพอิสระต่างๆ ในชุมชน 6.ส่งเสริมให้ประชาชนได้รับความรู้ ความเข้าใจ และนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ดำเนินชีวิต 7.ส่งเสริมและสนับสนุนด้านสาธารณสุข เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดต่อต่างๆ 8.ส่งเสริมการอนุรักษ์ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านต่างๆ 9.สนับสนุนส่งเสริมด้านการกีฬา และนันทนาการ เพื่อให้เยาวชนห่างไกลจากยาเสพติด นโยบายการพัฒนาของผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ผู้บริหารส่วนตำบลมีนโยบายให้ประชาชนได้มีความเป็นอยู่ที่ดี มีรายได้เพียงพอมีความสงบสุข มีการสืบทอดวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น รักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ให้คงอยู่อย่างยั่งยืน โดยมี แนวทางการดำเนินการ ดังนี้ 1.ยึดประโยชน์สุขของประชาชน เป็นผลลัพธ์สุดท้ายที่เกิดขึ้น จากการบริหารงานที่กำหนดไว้ใน พ.ร.บ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ถึง แก้ไข ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546 และ พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 2.ยึดนโยบายของรัฐบาลเพื่อนำนโยบายสำคัญไปสู่การปฏิบัติให้เกิดบังเกิดผลสำเร็จได้แก่การแก้ไขปัญหาความยากจนปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบปัญหายาเสพติด รวมตลอดถึงแก้ไขปัญหา ความเดือดร้อนและตอบสนองความต้องการของประชาชน 3.ยึดนโยบายของจังหวัดแบบบูรณาการมาปรับใช้เป็นแนวปฏิบัติในพื้นที่ของอบต.พระเสาร์เพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อประชาชนรวมกันในการสร้างความผาสุกแก่ประชาชนตามเจตนารมณ์ที่ตั้งไว้ 4.ยึดหลักกฎหมาย ระเบียบ ข้อบัญญัติขององค์กร นโยบายรัฐบาล มติคณะรัฐมนตรี และมติของสภา อบต. และหนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทย จุดมุ่งหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ จากกรอบความคิด นโยบาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ต่างๆ ที่กฎหมายกำหนด มีแนวคิดร่วมของประชาคมตำบลผสมผสานกับแนวนโยบายขององค์กรปกครองท้องถิ่นที่กำหนดไว้ ได้นำมาสู่จุดมุ่งหมายการพัฒนา (goals) ขององค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ดังนี้ 1.เพื่อพัฒนาการคมนาคม การสาธารณูปโภค ไฟฟ้าสาธารณะ และคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตร 2.เพื่อพัฒนากลุ่มอาชีพ ให้ประชาชนมีอาชีพ มีรายได้ และมีศักยภาพโอกาสทางเศรษฐกิจ ตามวิถีความพอเพียง 3.เพื่อพัฒนาและรักษาฟื้นฟูซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 4.เพื่อพัฒนาการศึกษาให้แก่เด็ก เยาวชน ประชาชนให้ได้มาตรฐาน มีคุณภาพ 5.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการเมืองการบริหารในระบอบประชาธิปไตย 6.เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน การช่วยเหลือผู้ประสบภัยต่างๆ ที่รวดเร็ว มีมาตรฐานอย่างทั่วถึง 7.เพื่อให้ชุมชนมีการรักษาไว้ซึ่งเอกลักษณ์ ภูมิปัญญา ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น 8.เพื่อให้ประชาชนได้ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย รู้ทันโลก ทันเหตุการณ์ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเข้าสู่สังคมอาเซียน(Asian Social) ต่อไป 9.เพื่อพัฒนาการกีฬาและนันทนาการให้มีมาตรฐานในระดับสากล 10.เพื่อการป้องกันและระงับโรคติดต่อทุกประเภท ให้มีประสิทธิภาพ ครอบคลุมพื้นที่ในเขตตำบล 11.เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ และผู้ด้อยโอกาสในสังคมชุมชน 12.เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมแก่ประชาชน และห่างไกลจากยาเสพติด 13.เพื่อให้ประชาชนมีน้ำอุปโภคอย่างเพียงพอ และมีมาตรฐาน 14.เพื่อให้มีการบรรเทาสาธารณภัยอย่างครบครัน 15.เพื่อให้ประชาชน หน่วยงานต่างๆ กลุ่มองค์กร ในเขตพื้นที่ มีส่วนร่วมในการพัฒนาตำบลให้มีความ เข้มแข็งและเจริญก้าวหน้าต่อไป
วิสัยทัศน์หน่วยงาน

วิสัยทัศน์  (Vision)
      “สาธารณูปโภคก้าวไกล  ใส่ใจการคมนาคม  อุดมด้วยแหล่งน้ำ  งามล้ำประเพณี  สู่วิถีความพอเพียง”
 
พันธกิจ  (Mission)
ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.  2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
มาตรา  67,68  และตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542ดังต่อไปนี้
1.ปรับปรุงพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อใช้อุปโภค – บริโภค และทางการเกษตร
2.ให้การพัฒนา ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน  เช่น  ถนน  ไฟฟ้า  ประปา
3.สนับสนุนการปรับปรุงภูมิทัศน์  และจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้น่าอยู่ยิ่งขึ้น
4.การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่างๆ  ในพื้นที่
5.ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาอาชีพ  ให้การอบรมอาชีพกลุ่มอาชีพอิสระต่างๆ  ในชุมชน
6.ส่งเสริมให้ประชาชนได้รับความรู้  ความเข้าใจ  และนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ดำเนินชีวิต
7.ส่งเสริมและสนับสนุนด้านสาธารณสุข  เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดต่อต่างๆ
8.ส่งเสริมการอนุรักษ์ศาสนา  วัฒนธรรม  ประเพณี  และภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านต่างๆ
9.สนับสนุนส่งเสริมด้านการกีฬา และนันทนาการ เพื่อให้เยาวชนห่างไกลจากยาเสพติด

นโยบายการพัฒนาของผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
ผู้บริหารส่วนตำบลมีนโยบายให้ประชาชนได้มีความเป็นอยู่ที่ดี มีรายได้เพียงพอมีความสงบสุข   
มีการสืบทอดวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น รักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม  ให้คงอยู่อย่างยั่งยืน  โดยมี แนวทางการดำเนินการ ดังนี้
1.ยึดประโยชน์สุขของประชาชน เป็นผลลัพธ์สุดท้ายที่เกิดขึ้น จากการบริหารงานที่กำหนดไว้ใน พ.ร.บ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ถึง แก้ไข ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546 และ พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  พ.ศ. 2542
2.ยึดนโยบายของรัฐบาลเพื่อนำนโยบายสำคัญไปสู่การปฏิบัติให้เกิดบังเกิดผลสำเร็จได้แก่การแก้ไขปัญหาความยากจนปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบปัญหายาเสพติด รวมตลอดถึงแก้ไขปัญหา    ความเดือดร้อนและตอบสนองความต้องการของประชาชน
3.ยึดนโยบายของจังหวัดแบบบูรณาการมาปรับใช้เป็นแนวปฏิบัติในพื้นที่ของอบต.พระเสาร์เพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อประชาชนรวมกันในการสร้างความผาสุกแก่ประชาชนตามเจตนารมณ์ที่ตั้งไว้
4.ยึดหลักกฎหมาย ระเบียบ ข้อบัญญัติขององค์กร นโยบายรัฐบาล มติคณะรัฐมนตรี และมติของสภา อบต. และหนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทย

จุดมุ่งหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
จากกรอบความคิด นโยบาย  วิสัยทัศน์  และพันธกิจ ต่างๆ  ที่กฎหมายกำหนด มีแนวคิดร่วมของประชาคมตำบลผสมผสานกับแนวนโยบายขององค์กรปกครองท้องถิ่นที่กำหนดไว้ ได้นำมาสู่จุดมุ่งหมายการพัฒนา (goals)  ขององค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ดังนี้

1.เพื่อพัฒนาการคมนาคม การสาธารณูปโภค ไฟฟ้าสาธารณะ และคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตร
2.เพื่อพัฒนากลุ่มอาชีพ ให้ประชาชนมีอาชีพ มีรายได้ และมีศักยภาพโอกาสทางเศรษฐกิจ ตามวิถีความพอเพียง
3.เพื่อพัฒนาและรักษาฟื้นฟูซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
4.เพื่อพัฒนาการศึกษาให้แก่เด็ก เยาวชน ประชาชนให้ได้มาตรฐาน มีคุณภาพ
5.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการเมืองการบริหารในระบอบประชาธิปไตย
6.เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน การช่วยเหลือผู้ประสบภัยต่างๆ ที่รวดเร็ว  มีมาตรฐานอย่างทั่วถึง
7.เพื่อให้ชุมชนมีการรักษาไว้ซึ่งเอกลักษณ์ ภูมิปัญญา ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น
8.เพื่อให้ประชาชนได้ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย  รู้ทันโลก ทันเหตุการณ์ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเข้าสู่สังคมอาเซียน(Asian Social) ต่อไป
9.เพื่อพัฒนาการกีฬาและนันทนาการให้มีมาตรฐานในระดับสากล
10.เพื่อการป้องกันและระงับโรคติดต่อทุกประเภท ให้มีประสิทธิภาพ  ครอบคลุมพื้นที่ในเขตตำบล
11.เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ และผู้ด้อยโอกาสในสังคมชุมชน
12.เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมแก่ประชาชน และห่างไกลจากยาเสพติด
13.เพื่อให้ประชาชนมีน้ำอุปโภคอย่างเพียงพอ และมีมาตรฐาน
14.เพื่อให้มีการบรรเทาสาธารณภัยอย่างครบครัน
15.เพื่อให้ประชาชน หน่วยงานต่างๆ กลุ่มองค์กร ในเขตพื้นที่ มีส่วนร่วมในการพัฒนาตำบลให้มีความ เข้มแข็งและเจริญก้าวหน้าต่อไป

place ข้อมูลหน่วยงาน
ด้านโครงสร้างพื้นฐาน6. การเมืองและการบริหาร 6.1 คณะผู้บริหารและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
ตัวชี้วัดรอปรับปรุง
สรุปผลการจัดเก็บข้อมูลคุณภาพชีวิตของครัวเรือนรอปรับปรุง
ด้านโครงสร้างพื้นฐาน2. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน 2.1 การคมนาคม มีเส้นทางหรือถนนติดต่อถึงอำเภอ จำนวน 2 เส้นทาง ระยะห่างจากอำเภอประมาณ 13 กิโลเมตร ลักษณะเป็นลาดยาง ถนนระหว่างหมู่บ้านเป็นลาดยางและลูกรัง ส่วนถนนภายในหมู่บ้านส่วนมากเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็กและถนนดินผสมลูกรัง 2.2 การโทรคมนาคม - ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลขประจำตำบล 1 แห่ง - สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ - แห่ง 2.3 การไฟฟ้า - ไฟฟ้าเข้าถึงทุกหมู่บ้านและประชากรใช้ไฟฟ้าทุกครัวเรือน 2.4 แหล่งน้ำธรรมชาติ - ลำน้ำ , ลำห้วย 1 สาย - บึง , หนองและอื่น ๆ 13 แห่ง 2.5 แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น - บ่อน้ำโยกมือ 21 แห่ง - สระน้ำ 7 แห่ง - ประปาหมู่บ้าน 10 แห่ง 3. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3.1 ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ - มีป่าสงวนแห่งชาติ 1 แห่ง มีเนื้อที่ประมาณ 2,000 ไร่ ส่วนมากเป็นป่าไม้ยางนาและไม้อื่น ๆ แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ ได้แก่ วัดพระธาตุบุญตา ศูนย์อนุรักษ์สัตว์ป่า(ดงลิงบ้านปลาปึ่ง) วัดป่าหนองบัวแดง 4. ด้านเศรษฐกิจ 4.1 อาชีพ ( แสดงอาชีพของประชากรในเขต อบต. ) ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพหลักคือการทำนา รองลงมาคือเลี้ยงสัตว์ ปลูกพืชสวนครัว รับจ้างทั่วไป และการทำหัตถกรรมในครัวเรือน 4.2 หน่วยธุรกิจในเขต อบต. - ธนาคาร - แห่ง - โรงสี 35 แห่ง - ปั๊มน้ำมัน 6 แห่ง ( รวมปั๊มหลอด ) - อู่ซ่อมรถ 4 แห่ง - ร้านขายก๊าซหุงต้ม 5 แห่ง - ร้านค้า 36 แห่ง 5. ด้านสังคม การเมืองและการบริหาร 5.1 การศึกษา - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (3 – 5 ขวบ) 3 แห่ง - ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด 1 แห่ง - โรงเรียนขยายโอกาส 1 แห่ง - โรงเรียนประถมศึกษา 4 แห่ง - ที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน 7 แห่ง 5.2 สถาบันและองค์กรทางศาสนา - วัด 9 แห่ง - สำนักสงฆ์ 2 แห่ง - มัสยิด - แห่ง - ศาลเจ้า - แห่ง - โบสถ์ - แห่ง 5.3 การสาธารณสุข - โรงพยาบาลของรัฐขนาด - เตียง จำนวน - แห่ง - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบล / หมู่บ้าน จำนวน 2 แห่ง - สถานพยาบาลเอกชน จำนวน - แห่ง - ร้านขายยาแผนปัจจุบัน จำนวน 1 แห่ง - อัตราการใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100 5.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน - สถานีตำรวจชุมชนประจำตำบล 1 แห่ง - สถานีดับเพลิง - แห่ง 5.5 มวลชนจัดตั้ง - ลูกเสือชาวบ้าน 5 รุ่น 750 คน - หมู่บ้าน อพป. 1 รุ่น 15 คน - กลุ่มเกษตรกร 14 กลุ่ม 350 คน - กลุ่ม อปพร. 1 กลุ่ม 52 คน 5.6 วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นที่สำคัญ ประเพณีของท้องถิ่น มีการดำเนินการทุกเดือนตามฮีตสิบสอง ครองสิบสี่ 5.7 สรุปผลการจัดเก็บข้อมูลคุณภาพชีวิตของครัวเรือน ระดับตำบล ปี 2557
เขตการปกครอง รอปรับปรุง
ข้อมูลหน่วยงาน
ด้านโครงสร้างพื้นฐาน

6. การเมืองและการบริหาร 6.1 คณะผู้บริหารและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
ตัวชี้วัด

รอปรับปรุง
สรุปผลการจัดเก็บข้อมูลคุณภาพชีวิตของครัวเรือน

รอปรับปรุง
ด้านโครงสร้างพื้นฐาน

2. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน 2.1 การคมนาคม มีเส้นทางหรือถนนติดต่อถึงอำเภอ จำนวน 2 เส้นทาง ระยะห่างจากอำเภอประมาณ 13 กิโลเมตร ลักษณะเป็นลาดยาง ถนนระหว่างหมู่บ้านเป็นลาดยางและลูกรัง ส่วนถนนภายในหมู่บ้านส่วนมากเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็กและถนนดินผสมลูกรัง 2.2 การโทรคมนาคม - ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลขประจำตำบล 1 แห่ง - สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ - แห่ง 2.3 การไฟฟ้า - ไฟฟ้าเข้าถึงทุกหมู่บ้านและประชากรใช้ไฟฟ้าทุกครัวเรือน 2.4 แหล่งน้ำธรรมชาติ - ลำน้ำ , ลำห้วย 1 สาย - บึง , หนองและอื่น ๆ 13 แห่ง 2.5 แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น - บ่อน้ำโยกมือ 21 แห่ง - สระน้ำ 7 แห่ง - ประปาหมู่บ้าน 10 แห่ง 3. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3.1 ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ - มีป่าสงวนแห่งชาติ 1 แห่ง มีเนื้อที่ประมาณ 2,000 ไร่ ส่วนมากเป็นป่าไม้ยางนาและไม้อื่น ๆ แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ ได้แก่ วัดพระธาตุบุญตา ศูนย์อนุรักษ์สัตว์ป่า(ดงลิงบ้านปลาปึ่ง) วัดป่าหนองบัวแดง 4. ด้านเศรษฐกิจ 4.1 อาชีพ ( แสดงอาชีพของประชากรในเขต อบต. ) ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพหลักคือการทำนา รองลงมาคือเลี้ยงสัตว์ ปลูกพืชสวนครัว รับจ้างทั่วไป และการทำหัตถกรรมในครัวเรือน 4.2 หน่วยธุรกิจในเขต อบต. - ธนาคาร - แห่ง - โรงสี 35 แห่ง - ปั๊มน้ำมัน 6 แห่ง ( รวมปั๊มหลอด ) - อู่ซ่อมรถ 4 แห่ง - ร้านขายก๊าซหุงต้ม 5 แห่ง - ร้านค้า 36 แห่ง 5. ด้านสังคม การเมืองและการบริหาร 5.1 การศึกษา - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (3 – 5 ขวบ) 3 แห่ง - ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด 1 แห่ง - โรงเรียนขยายโอกาส 1 แห่ง - โรงเรียนประถมศึกษา 4 แห่ง - ที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน 7 แห่ง 5.2 สถาบันและองค์กรทางศาสนา - วัด 9 แห่ง - สำนักสงฆ์ 2 แห่ง - มัสยิด - แห่ง - ศาลเจ้า - แห่ง - โบสถ์ - แห่ง 5.3 การสาธารณสุข - โรงพยาบาลของรัฐขนาด - เตียง จำนวน - แห่ง - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบล / หมู่บ้าน จำนวน 2 แห่ง - สถานพยาบาลเอกชน จำนวน - แห่ง - ร้านขายยาแผนปัจจุบัน จำนวน 1 แห่ง - อัตราการใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100 5.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน - สถานีตำรวจชุมชนประจำตำบล 1 แห่ง - สถานีดับเพลิง - แห่ง 5.5 มวลชนจัดตั้ง - ลูกเสือชาวบ้าน 5 รุ่น 750 คน - หมู่บ้าน อพป. 1 รุ่น 15 คน - กลุ่มเกษตรกร 14 กลุ่ม 350 คน - กลุ่ม อปพร. 1 กลุ่ม 52 คน 5.6 วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นที่สำคัญ ประเพณีของท้องถิ่น มีการดำเนินการทุกเดือนตามฮีตสิบสอง ครองสิบสี่ 5.7 สรุปผลการจัดเก็บข้อมูลคุณภาพชีวิตของครัวเรือน ระดับตำบล ปี 2557
เขตการปกครอง

รอปรับปรุง